ความรับผิดของผู้ออกเช็ค
องค์ประกอบเดียว ซึ่งต้องพิจารณาร่วมกันโดยผู้ที่ใช้ชื่อว่าเป็นผู้ออกเช็คตาม ข้อที่ 1 ย่อมมีความผิดแม้จะมีเหตุเหล่านี้มาประกอบก็ตาม
- ผู้ออกเช็คจะไม่มีหนี้สินกับผู้ทรงโดยตรง
ฎีกาที่ 1273 2/2557 3 เมื่อจำเลยที่ 2 เป็นผู้ลงลายมือชื่อสั่งจ่าย เงินในเช็คพิพาททั้งสองฉบับชำระหนี้ค่าสินค้าให้แก่โจทก์ร่วมทั้งยังให้ตัวอย่างลายมือชื่อของจำเลยที่ 2 ว่าเป็นผู้มีอำนาจสั่งจ่ายเช็คในนามจำเลยที่ 1 แก่ธนาคาร ดังนี้แม้จำเลยที่ 2 จะไม่ได้เป็นผู้สั่ง ซื้อสินค้าหรือมีหนี้สินใดกับโจทก์ร่วมโดยตรง เมื่อจำเลยที่ 2 ลงมือชื่อสั่งจ่ายในเช็คพิพาททั้ง 2 ฉบับ จำเลยที่ 2 ก็ต้องรับผิดใช้เงินตามเช็คให้แก่โจทก์ร่วมในฐานะผู้สั่งจ่าย
2. บัญชีเงินฝากปิด
ฎีกาที่ 1017/2567 บุคคลใดทำเป็นหนังสือตราสารซึ่งมีรายการครบถ้วนบริบูรณ์ตามลักษณะดังที่กล่าวไว้ใน มาตรา 487 และ 488 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้วก็เป็นเช็ค เมื่อผู้ทรงนำไปขึ้นเงินไม่ได้ โทรออกเช็คก็มีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497
ฎีกาที่ 249/2527 จำเลยรับกระบือจากโจทก์ 29 และออกเช็คให้โจทก์ 2 ฉบับคณะออกเช็คบัญชีของจำเลยผิดแล้วดังนั้นเป็นการออกเช็คเพื่อชำระหนี้ค่ากระบือที่โจทก์ขายขาดให้จำเลยไม่เป็นการออกเช็คเพื่อประกันการชำระราคากระบือเมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คจำเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2497
สอบถามเพิ่มเติม 091-0473382